News & Events
คุยกับ ‘วีระชาติ กิเลนทอง’ ในวันที่การเรียนรู้ของเด็กไทยกำลังถดถอยสวนทางกับความเหลื่อมล้ำที่กำลังขยายใหญ่ขึ้น ทางออกของเรื่องนี้ควรเป็นเช่นไร พ่อแม่และครูจะมีส่วนร่วมในการฟื้นฟูทักษะของลูกหลานได้อย่างไรบ้าง เพื่อรักษาระบบการศึกษาไม่ให้เชื้อโรคที่ชื่อว่าความเหลื่อมล้ำแผ่ความรุนแรงไปมากกว่านี้
Mutual คุยกับ รศ.ดร.วีระชาติ กิเลนทอง ถึงเรื่องความพร้อมในการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยไทย ในประเด็นการเรียนรู้ถดถอยที่เด็กปฐมวัยต้องเผชิญ รวมถึงทางออกสู่การฟื้นฟูทักษะที่หล่นหายไปหลังสถานการณ์โควิด-19 เริ่มคลี่คลาย
“น้องเมฆ – เมธาสิทธิ์” เด็กนักเรียนระดับชั้นอนุบาล 3 ในจังหวัดมหาสารคาม อาศัยอยู่กับยายที่เรียนจบเพียงชั้น ป.6 ยายมีอาชีพทำนาและรับจ้าง กว่า 2 ปี ที่โควิด-19 แพร่ระบาด ทำให้โรงเรียนต้องปิดเรียนกว่า 1 เทอม และได้สร้างปัญหาเรื่องการเรียนรู้ที่ไม่เป็นไปตามพัฒนาการ เกิดการเรียนรู้ถดถอย…
นโยบายปิดโรงเรียนช่วงโควิด-19 ส่งผลให้เกิด “ภาวะการเรียนรู้ถดถอย” ซึ่งกระทบกับการเรียนรู้และการฝึกทักษะต่าง ๆ ของเด็กเล็กอย่างรุนแรง หากไม่เร่งแก้ไข ก็จะเกิดเป็นปัญหาใหญ่ที่กระทบสังคมเป็นวงกว้างอย่างแน่นอน
“เราเป็นกังวลว่าเด็กเล็กๆ กำลังถูกกระทบเยอะมาก จากปัญหารอบด้านในสถานการณ์วิกฤตครั้งนี้ โดยที่ลึกๆ แล้วเขาอาจจะไม่รู้ตัว เราเป็นห่วงว่าระยะยาวจะทำให้เขาไม่สามารถพัฒนาได้อย่างเต็มที่เท่ากับคนรุ่นอื่นๆ”
‘วอยซ์’ คุยกับ รศ.ดร.วีระชาติ กิเลนทอง คณบดีคณะการศึกษาปฐมวัย มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย เพื่อหาทางยุติวิกฤตที่จะลามไปยังอนาคต